โรงงาน มือ สอง

โรงงาน มือ สอง

รำข้าวโอ๊ต รำข้าวโอ๊ตเป็นผลิตภัณฑ์มหัศจรรย์ที่จะช่วยต่อสู้กับอาการท้องผูก มีคุณสมบัติในการช่วยลดน้ำหนัก ช่วยป้องกันมะเร็งลำไส้ใหญ่ ช่วยให้ผิวพรรณดี แต่เหนือสิ่งอื่นใดคือจะช่วยลดปริมาณคอเลสเตอรอลที่ไม่ดีได้มากถึง 15% เพราะในรำข้าวโอ๊ตนั้นจะอุดมไปด้วยเบต้ากลูแคน (beta glucan) มีใยอาหารชนิดพิเศษที่จะเข้าไปจัดการกับ LDLไขมันร้ายอย่างเจ้าคอเลสเตอรอลและยังช่วยกระตุ้นให้ระบบภูมิคุ้มกันทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนผสมของใยอาหารชนิดละลายน้ำได้และชนิดที่ไม่ละลายน้ำในรำข้าวโอ๊ตยังช่วยระบบย่อยอาหารทำงานได้อย่างราบเลื่อนอีกด้วย 8. น้ำมันมะกอก การที่น้ำมันมะกอกสามารถช่วยลดคอเลสเตอรอลที่ไม่ดีได้ก็เป็นเพราะว่าในน้ำมันมะกอกนั้นจะอุดมไปด้วยกรดโอเลอิกซึ่งเป็นกรดไขมันโอเมก้า 9 ด็อกเตอร์ Marie Antoinette Sejean นักโภชนาการชาวฝรั่งเศสกล่าวว่า โอเมก้า 9 ที่มีบทบาทสำคัญในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด เพราะเป็นกรดไขมันที่จะไปช่วยในการผลิตไขมันดี (HDL) ให้เพิ่มมากขึ้น ซึ่งนั่นจะไปทำให้ที่ไม่ดี (LDL) หรือคอเลสเตอรอลลดปริมาณลง 9. ปลาซาร์ดีน ปลาซาร์ดีนมีกรดไขมันไม่อิ่มตัวซึ่งเป็นไขมันดี อีกทั้งยังอุดมไปด้วยโอเมก้า 3 ที่ช่วยทำให้ไขมันที่ไม่ดีในร่างกายลดปริมาณลง และเพิ่มไขมันดีให้มากขึ้น เพื่อสุขภาพที่ดีควรรับประทานปลาซาร์ดีนให้ได้สัปดาห์ละ 2 ครั้ง 10.

อาหาร 8 ชนิดที่ช่วยลดคอเลสเตอรอล

ถั่ว Nuts ถั่วมีสารต้านอนุมูลอิสระ วิตามิน สารอาหาร เส้นใย และไขมันไม่อิ่มตัวที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ อย่างน้อยควรทานถั่ว 1 กำมือทุกวัน เลือกทานถั่วลิสง วอลนัท เฮเซลนัท อัลมอนด์ ถั่วพิสตาชิโอ ถั่วพีแคน และถั่วอื่น ๆ สามารถช่วยลดคอเลสเตอรอลในเลือด วิธีรับประทาน: จากการศึกษาพบว่าการรับประทานถั่วอัลมอนด์ 4 ถ้วยต่อวัน สามารถลดระดับ LDL ได้ 4-5% เลือกทานถั่วอัลมอนด์ และถั่วเหลือง แบบปราศจากน้ำมัน ถั่ววอลนัทมีกรดไขมันโอเมก้า 3 ในระดับที่สูง การกินถั่วช่วยลดระดับ LDL ในร่างกายของเราลงได้มากถึง 16% ถั่วทุกชนิดมีแคลอรีสูง ดังนั้นควรทานเพียงเล็กน้อยเท่านั้น 5. แอปเปิลไซเดอร์เวนิกา Apple Cider Vinegar ที่มา womensmap แอปเปิลไซเดอร์เวนิกา มีคุณสมบัติที่น่าทึ่ง เพราะช่วยรักษาความผิดปกติต่าง ๆ ภายในร่างกาย โดยหนึ่งในนั้นคือ ช่วยลดระดับไตรกลีเซอไรด์และลดระดับคอเลสเตอรอลสูง วิธีรับประทาน: ผสมแอปเปิลไซเดอร์เวนิกา ในน้ำอุ่น 2-3 ช้อนชา ดื่มในขณะที่ท้องว่าง 2-3 ครั้งต่อวัน เป็นเวลา 1 เดือน หรือมากกว่านั้น รู้แบบนี้แล้วก็อย่าลืมทานเลือกทานอาหารตามข้างต้นนี้ จะได้ลดระดับคอเลสเตอรอลโดยไม่ต้องพึ่งยายังไงล่ะ

ผลไม้รสเปรี้ยว ผลไม้รสเปรี้ยวมักมีไฟเบอร์เพคตินซึ่งเป็นชนิดที่ละลายในน้ำ และสามารถช่วยลดคอเลสเตอรอลได้ รวมถึงยังช่วยหยุดตับไม่ให้ผลิตคอเลสเตอรอลมามากเกินไป โดยผลไม้รสเปรี้ยวที่ควรกินเป็นประจำได้แก่ องุ่น มะนาว ส้ม พรุนและผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ รวมถึงแอปเปิ้ลและกีวี่ด้วยค่ะ 9. อะโวคาโด ในอะโวคาโดนั้นมีไขมันดีอยู่เยอะมาก ซึ่งไขมันดีถือเป็นสารอาหารที่ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลในร่างกายได้ดี ช่วยลดระดับไขมัน LDL รวมถึงยังสามารถช่วยเพิ่มระดับไขมันดีให้กับร่างกายด้วย นอกจากนี้ยังมีไฟเบอร์ซึ่งเป็นตัวช่วยในการลดน้ำหนักได้อีกทางหนึ่งค่ะ 10. น้ำมันมะกอก น้ำมันมะกอกประเภท Extra Virgin Olive Oil ถือว่าเป็นอาหารที่ดีต่อหัวใจ โดยสามารถลดความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจได้ รวมถึงยังสามารถลดความเสี่ยงในการเกิดอาการหัวใจวายเฉียบพลันได้ด้วย นอกจากนี้น้ำมันมะกอกยังเป็นอาหารที่อุดมไปด้วยกรดไขมันโอเมก้า 3 สามารถช่วยเพิ่มระดับไขมันดี HDL และช่วยลดคอเลสเตอรอล ลดระดับไขมันเลว LDL ได้ค่ะ บทความที่คุณอาจสนใจ 6 อาหารไขมันดี ช่วยคุมน้ำหนักได้แถมไล่คอเลสเตอรอล 7 ผลไม้ช่วยลดไขมัน ลดคอเลสเตอรอลได้ ไม่เป็นโรคอ้วน

แนะนำ อาหารลดคอเลสเตอรอล ลดไขมัน เพื่อสุขภาพที่ดี - อาหารสุขภาพ

17 mmol/l และยังพบปริมาณ HDL เพิ่มขึ้นอีกด้วย อย่างไรก็ตามไม่ควรรับประทานชอคโกแลตหรือเครื่องดื่มโกโก้ที่มีส่วนผสมของน้ำตาลที่มากเกินไป ซึ่งจะกลายเป็นผลเสียต่อสุขภาพ 8. กระเทียม กระเทียมมีสารสำคัญ คือ allicin ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลและ LDL และลดความเสี่ยงของโรคหัวใจ และยังช่วยลดความดันโลหิตได้อีกด้วย อย่างไรก็ตาม สาร allicin ถูกทำลายได้ง่ายด้วยความร้อน และต้องใช้กระเทียมปริมาณมากถึงจะได้สาร allicin ในระดับที่ออกฤทธิ์ได้ การเลือกทานอาหารเสริมที่เป็นสารสกัดจากกระเทียมอาจเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ดี 9. ผัก ผัก มีใยอาหารหรือไฟเบอร์ รวมถึงสารต้านอนุมูลอิสระในปริมาณที่สูง แต่แคลอรี่ต่ำ มีประโยชน์ต่อสุขภาพ และมีประโยชน์ในการควบคุมน้ำหนัก ผักบางชนิดมีสาร pectin ซึ่งเป็นไฟเบอร์ที่มีประสิทธิภาพในการลด LFL อยู่ในปริมาณที่สูง เช่น แครอท มันฝรั่ง ฝักกระเจี๊ยบ เป็นต้น 10. ชา มีการวิจัยมากมายที่พบว่าการดื่มชา ช่วยลดคอเลสเตอรอล และความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ สารสำคัญ 2 อย่างที่พบในชา คือ สาร catechin ช่วยเร่งกระบวนการสร้าง nitric oxide ที่มีส่วนสำคัญต่อสุขภาพที่ดี ซึ่งช่วยควบคุมความดันโลหิต ลดการสร้างและดูดซึมคอเลสเตอรอล ลดการอุดตันของกระแสเลือดสาร สาร quercetin ช่วยลดการอักเสบของเซลล์ และทำให้เส้นเลือดแข็งแรง 11.

ดาร์กช็อกโกแลต ในดาร์กช็อกโกแลตนั้นมีสารที่ชื่อว่า ฟลาโวนอยด์ (flavonoids) ซึ่งเป็นสารที่ดีต่อระบบหัวใจค่ะ โดยสารชนิดนี้สามารถช่วยปรับให้ระดับไขมันในเลือดมีความสมดุลมากขึ้น ส่งผลให้ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลในเลือด ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูงและ 2. กระเทียม สารอาหารสำคัญในกระเทียม นั่นก็คือ อัลลิซิน (allicin) ซึ่งเป็นสารอาหารหลักที่ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลได้ รวมถึงยังช่วยลดความดันโลหิต ในกลุ่มผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงจึงควรกินกระเทียมเป็นประจำ นอกจากนี้ยังช่วยลดไขมัน LDL อีกด้วยค่ะ 3. ธัญพืช เมล็ดธัญพืชและข้าวแบบไม่ขัดสีสามารถช่วยลดความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดได้ เนื่องจากธัญพืชแลพข้าวแบบไม่ขัดสีนั้นมีวิตามินและแร่ธาตุที่จำเป็นต่อร่างกายหลายชนิด โดยธัญพืชที่แนะนำให้กินเป็นประจำ คือ ข้าวโอ๊ต ข้าวบาร์เล่ย์ คีนัว เมล็ดแฟลกซ์ รวมถึงข้าวกล้อง ข้าวไรซ์เบอร์รี่ และข้าวไม่ขัดสีอื่นๆ ค่ะ 4. เนื้อปลา เนื่อปลาที่มีกรดไขมันโอเมก้า 3 ถือเป็นอาหารที่ช่วยลดคอเลสเตอรอลได้ดี ยิ่งหากเราได้กินเนื้อปลาอย่างน้อย 2 - 3 ครั้งต่อสัปดาห์ นอกจากเนื้อปลาจะมีไขมันโอเมก้า 3 ซึ่งสามารถช่วยลดไขมัน LDL ได้แล้ว ยังสามารถช่วยความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจ ป้องกันการเต้นของหัวใจผิดปกติ เนื้อปลาที่แนะนำให้กิน ได้แก่ ปลาแซลมอน ปลาทูน่า ปลาแมคเคอเรล ปลาซาร์ดีน ปลาแอนโชวี รวมถึงปลาทู ปลาช่อน ปลากระพง ปลาจะละเม็ด ปลาเนื้ออ่อน ปลาสวาย ปลาอินทรีย์ และปลาดุกค่ะ 5.

  1. ม.บูรพา รอบ2 64
  2. 9 อาหารมีประโยชน์ ลดคอเลสเตอรอล
  3. วง ละมุนแบนด์ การรวมตัว 3 คนดนตรี จั๊ก ชวิน ปิงปอง ศิรศักดิ์ ต้าร์ mr.team

กระเทียมและพืชในตระกูลหัวหอม กระเทียม หัวหอมแดง และหัวหอมใหญ่ เป็นพืชที่สามารถช่วยลดคอเลสเตอรอลในเลือดได้และช่วยบำรุงหัวใจ ซึ่งถูกใช้กันมาอย่างแพร่หลายนับศตวรรษ โดยส่วนใหญ่มักจะนำไปประกอบอาหารชนิดต่าง ๆ และกินในสลัดผักสด นักวิจัยเชื่อว่าอาหารในแถบเมดิเตอร์เรเนียนที่มีการใส่กระเทียมเยอะ ๆ นั้น เป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญที่ทำให้อาหารประเภทนี้ดีต่อสุขภาพหัวใจ 6. ธัญพืชที่ยังไม่ผ่านการขัดสี ธัญพืชที่ยังไม่ผ่านการขัดสีหรือดัดแปลงนั้นเป็นแหล่งของวิตามิน แร่ธาตุ และไฟเบอร์ในปริมาณสูง แถมยังมีไขมันและคอเลสเตอรอลต่ำอีกด้วย โดยเฉพาะข้าวโอ๊ตนั้นยังมีไฟเบอร์ที่สามารถละลายน้ำได้ซึ่งช่วยในการลดระดับคอเลสเตอรอลในเลือดได้ 7. ปลา นักวิจัยค้นพบว่าผู้ที่รับประทานปลามากกว่าสามครั้งต่อสัปดาห์นั้นจะห่างไกลจากโรคหัวใจและความดันเลือดสูง เพราะในปลานั้นอุดมไปด้วยไขมันโอเมก้า 3 8. อาหารที่อุดมไปด้วยไขมันโอเมก้า 3 นอกจากปลาที่มีกรดไขมันโอเมก้า 3 ในปริมาณที่สูงแล้ว ในปัจจุบันนี้มีอาหารหลายชนิดที่มีการเติมกรดไขมันโอเมก้า 3 ลงไป อย่างเช่น นม, ไข่ไก่ และเนื้อสัตว์ ซึ่งอาหารเหล่านั้นก็สามารถหาซื้อได้ง่ายตามซูเปอร์มาร์เกตขนาดใหญ่ ไม่ใช่แค่เพียงอาหารเท่านั้นที่จะช่วยให้เราสามารถควบคุมระดับคอเลสเตอรอลได้ แต่ยังมีปัจจัยอีกหนึ่งอย่างที่สำคัญนั่นก็คือตัวเราเอง ซึ่งถ้าหากเราสามารถปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตและอาหารการกินได้ไม่ว่าจะเป็นโรคภัยใด ๆ เราก็สามารถรักษาและป้องกันได้ค่ะ เรื่องที่คุณอาจสนใจ

อาหารลดคอเลสเตอรอล 9 เมนูเด็ด บทความสุขภาพ - อาหารลดน้ำหนัก และ อาหารสุขภาพ

ธัญพืช (Whole Grains) ธัญพืชเต็มเมล็ดที่ไม่ผ่านการขัดสี หรือขัดสีน้อยที่สุด โดยยังมีส่วนประกอบสำคัญอยู่อย่างครบถ้วน ได้แก่ เยื่อหุ้มเมล็ด เนื้อเมล็ด และจมูกข้าว ถือเป็นส่วนที่มีคุณค่าโภชนาการสูงทั้งใยอาหาร วิตามิน แร่ธาตุ และไฟโตนิวเตรียนท์ หรือสารต่อต้านอนุมูลอิสระต่างๆ ตัวอย่างของ whole grain ได้แก่ ข้าวกล้อง ข้าวสาลี ข้าวโพด ข้าวโอ๊ต ข้าวบาร์เลย์ ข้าวไรย์ ลูกเดือย ข้าวโอ๊ต และข้าวบาร์เลย์ อุดมไปด้วย beta-glucan ซึ่งเป็นไฟเบอร์ชนิดที่ละลายน้ำได้ที่มีประสิทธิภาพสูงในการลดระดับคอเลสเตอรอลในกระแสเลือด 6. ผลไม้ และเบอรรี่ ผลไม้ โดยเฉพาะชนิดที่มีส่วนประกอบของไฟเบอร์ที่ละลายน้ำได้เป็นส่วนประกอบอยู่ในปริมาณมาก สามารถช่วยลดปริมาณ LDL ในร่างกายและทำให้ตับลดการสร้างคอเลสเตอรอล ไฟเบอร์ชนิดที่ละลายน้ำได้โดยเฉพาะสาร pectin ซึ่งพบได้มากในแอ๊ปเปิ้ล องุ่น สตอเบอรรี่ และผลไม้สกุลส้ม (citrus) สามารถลดคอเลสเตอรอลได้ถึง 10% ผลไม้กลุ่มเบอรรี่ อุดมไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยลดอัตราเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด รวมถึงโรคเรื้อรังต่างๆที่เกิดจากอนุมูลอิสระและขบวนการอักเสบของเซลล์ 7. Dark chocolate และ Cocoa โกโก้ (cocoa) เป็นส่วนประกอบหลักใน dark chocolate จากการวิจัยพบว่าสาร flavonoids ที่พบในโกโก้ช่วยลดระดับ LDL และเพิ่มปริมาณ HDL ได้ มีการศึกษาพบว่า ผู้ที่ดื่มเครื่องดื่มโกโก้วันละ 2 ครั้งต่อเนื่องเป็นเวลา 1 เดือน มีระดับ LDL ลดลง 0.

ช่วยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด งานวิจัยพบว่าในรำข้าวมีสารโอรีซานอล ที่พบได้ในน้ำมันรำข้าวเท่านั้น ไม่สามารถพบได้ในน้ำมันประเภทอื่น ๆ ที่เข้าไปมีผลต่อการทำงานของเซลล์ โดยทำให้เซลล์สามารถรองรับระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงขึ้น โดยเข้าไปเพิ่มอินซูลินในร่างกาย ทำให้น้ำตาลที่เข้าสู่เส้นเลือด ถูกอินซูลินนำพาไปเป็นพลังงานให้ร่างกาย ด้วยเหตุนี้ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดถูกควบคุมได้ ผู้ป่วยเบาหวานเหมาะในการรับประทาน และยังช่วยลดการสะสมไขมันที่ที่เกิดจากน้ำตาลที่เข้าสู่เส้นเลือดมาก แต่อินซูลินไม่สามารถพาน้ำตาลเหล่านี้ไปเป็นพลังงานให้กับเซลล์ได้ เพราะสารโอรีซานอลเพิ่มปริมาณอินซูลิน 3.

บุหรี่ 2. ความดัน 3. ไขมันปกติ ทั้งดีและเลว 4. เบาหวาน 5. ไตรกีเซอไรด์ 6. อ้วนลงพุง 7. ความเครียด 8. เกลือ 9. น้ำตาล 10. ไม่ออกกำลังกาย "จำไว้ว่า คอเลสเตอรอลอย่างเดียวไม่ให้โทษ เช่น ถ้าเรามีคอเลสเตอรอลสูง แต่ความดันไม่สูงด้วย ก็ไม่เป็นไร หรือไม่มีเบาหวานและไขมันในร่างกายปกติ ก็ไม่เป็นไร และเหนืออื่นใด คอเลสเตอรอลจะสูงหรือไม่นั้นก็เกิดจากน้ำมือของเราเอง มือของเราที่หยิบอาหารใส่ปาก" คุณหมอประธานโครงการอาหารไทยหัวใจดี กล่าว ทั้งนี้ อาหารที่กินแล้วดีมีประโยชน์ ไม่ให้โทษในด้านคอเรสเตอรอล จะต้องกินอะไรบ้าง? คุณหมอบอกไว้ ดังนี้ 1. ทานปลาทะเล สัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง 2. ทานถั่วเมล็ดแห้ง สัปดาห์ละ 3-4 ครั้ง 3. ทานผักในตระกูลครูซิเฟอรัส ทุกวัน ได้แก่ ผักคะน้า บร็อกโคลี ดอกกะหล่ำ แขนงผัก กะหล่ำปลี ผักกวางตุ้ง เป็นต้น 4. ทานผักที่มีสีสันต่างๆ และผลไม้ให้หลากหลายทุกวัน 5. ผลิตภัณฑ์ข้าวและธัญพืชไม่ขัดสี ทุกวัน เช่น ข้าวซ้อมมือ 6. ใช้น้ำมันมะกอก น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันดอกทานตะวัน น้ำมันรำข้าว ในการประกอบอาหาร 7. รับประทานผลิตภัณฑ์นมพร่องมันเนย หรือนมขาดไขมันแทนผลิตภัณฑ์นมเต็มไขมัน 8. ควบคุมปริมาณอาหารที่ทานในแต่ละมื้อ โดยเฉพาะเนื้อสัตว์ไม่เกินวันละ 200 กรัม 9.

อโวคาโด อโวคาโด เป็นผลไม้ที่อุดมไปด้วยสารอาหารมากมาย ทั้งยังเป็นแหล่งของไฟเบอร์และ monounsaturated fat (ไขมันชนิดไม่อิ่มตัวที่มีพันธะคู่ 1 อัน) ซึ่งเป็นสารสำคัญในการลด LDL และเพิ่มปริมาณ HDLในร่างกาย มีการวิจัยมากมายที่พบว่าการทานอโวคาโด มีส่วนสัมพันธ์กับการลดลงของระดับคอเลสเตอรอลในกระแสเลือด รวมถึงระดับของ LDL และ triglycerides อีกด้วย 3. ถั่วตระกูลนัท (Nut) ถั่วตระกูลนัท คือ ถั่วที่มีเปลือกแข็ง เช่นอัลมอนต์และวอลนัท เป็นถั่วที่อุดมไปด้วยสารอาหารอีกประเภทหนึ่ง เป็นแหล่งของ monounsaturated fat (ไขมันชนิดไม่อิ่มตัวที่มีพันธะคู่ 1 อัน) วอลนัท อุดมไปด้วยโอเมก้า 3 และกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัวที่ดีต่อสุขภาพหัวใจ และมีไฟเบอร์สูง อัลมอนต์ อุดมไปด้วย L-arginine ซึ่งเป็นกรดอะมิโนที่ช่วยสร้าง nitric oxide ที่ช่วยควบคุมความดันโลหิต นอกจากนั้น ถั่วกลุ่มนี้ยังมีสาร phytosterols ซึ่งเป็นสารที่มีโครงสร้างคล้ายกับคอเลสเตอรอล ซึ่งสามารถลดการดูดซึมคอเลสเตอรอลเข้าสู่กระแสเลือดได้ 4. ปลาที่มีโอเมก้า 3 ปลาทะเล เช่นปลาแซลมอน ปลาทูน่า รวมถึงปลาในท้องทะเลไทย เช่น ปลาจะละเม็ดขาว ปลาสำลี ปลากะพงขาว และปลาทู เป็นแหล่งโอเมก้า 3 ชั้นเลิศ ซึ่งโอเมก้า 3 สามารถเพิ่มระดับ HDL ในกระแสเลือด ลดการอักเสบของเซลล์ร่างกาย และลดการอุดตันของหลอดเลือดได้อีกด้วย วิธีการที่ดีที่สุดที่ถูกแนะนำในการประกอบอาหารจำพวกปลา คือการนึ่ง 5.

Saturday, 06-Aug-22 21:22:04 UTC