โรงงาน มือ สอง

โรงงาน มือ สอง

ปิยะธิดากล่าวอีกว่า ได้ไปคุยเพื่อเสนอว่าจะช่วยทำ 1. น้ำยางที่มีแอมโมเนียต่ำ เพราะไม่ต้องจัดการเรื่องอุณหภูมิที่มีความแปรปรวน ซึ่งจะส่งผลต่อกระบวนการผลิต 2. สามารถปรับเสถียรภาพของน้ำยางให้ผลิตแล้วสามารถใช้ได้เลย ไม่ต้องเก็บ 21 วัน และ ซิงค์ออกไซค์ ต่ำกว่าปกติ 30 เปอร์เซ็นต์ หลังจากนั้นก็ได้ทดลองประมาณ 1 ปีแล้ว สามารถขึ้นรูปได้ ทำเป็นหมอนโฟมได้ เรียกได้ว่าหมอน 300ใบที่ผลิตในแบบเดียวกัน เสียอยู่แค่ 2-3 ใบ จากปกติจะสูญเสียประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ เกาะติดทุกสถานการณ์จาก Line @Matichon ได้ที่นี่

  1. 'เอ็มเทค' วิจัยน้ำยางข้นสูตรใหม่ ลดสารแอมโมเนีย ใช้ผลิตหมอน-ที่นอน
  2. ประกายความหวัง! กลุ่มเกษตรกรแพรกหา จ.พัทลุง ผลิต “หมอนยางพารา” สู้ราคายางตกทำขายแทบไม่ทัน
  3. “พาราฟิต” จากน้ำยางพาราข้นในแล็บสู่โรงงานสหกรณ์
  4. RIU - น้ำยาง ParaFIT เพิ่มมูลค่ายางพาราไทย
  5. ประวัติสหกรณ์

'เอ็มเทค' วิจัยน้ำยางข้นสูตรใหม่ ลดสารแอมโมเนีย ใช้ผลิตหมอน-ที่นอน

หมอนยางพารา 300. 00 บาท วันที่บันทึก: 2021-08-30-11:38:30 การเข้าชม: 202 ครั้ง ผลิตจากน้ำยางพาราธรรมชาติ 100% มีอายุการใช้งานได้ยาวนาน ไม่มีส่วนผสมของยางสังเคราะห์ จังหวัด: พัทลุง ประเภทสินค้า: ของใช้ และของประดิษฐ์ ขนาด: ขนาด 26*23*3/4 cm. น้ำหนัก: ชื่อผู้ติดต่อ: สหกรณ์การเกษตรบ้านแพรกหา ที่อยู่: 179 ม. 2 ต. แพรกหา อ. ควนขนุน จ. พัทลุง เบอร์ติดต่อ: 074-610731 อีเมล์: เว็บไซต์: LINE: Facebook: เข้าชม Facebook

ส. ปิยะดา สุวรรณดิษฐากุล ผู้ช่วยวิจัยอาวุโส หนึ่งในทีมวิจัยเอ็มเทค สวทช.

ประกายความหวัง! กลุ่มเกษตรกรแพรกหา จ.พัทลุง ผลิต “หมอนยางพารา” สู้ราคายางตกทำขายแทบไม่ทัน

จุลเทพ ขจรไชยกูล ผู้อำนวยการ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช. กล่าวว่า การนำนวัตกรรมน้ำยางข้น ParaFIT มาใช้กับสหกรณ์ฯ คือการนำนวัตกรรมในการใช้สารเคมี ที่มีความปลอดภัยกับคนทำงานและสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ช่วยลดต้นทุน ซึ่งหัวใจสำคัญเมื่อนำมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์หมอนและที่นอนยางพาราแล้ว ช่วยลดระยะเวลาในการผลิตสั้นลงจาก 21 วัน เหลือเพียง 3 วัน มูลค่าเงินลดลง 5-6 ล้านบาทต่อ 2 ตันน้ำยาง โดยสิ่งที่จะทำต่อจากนี้ คือผลิตภัณฑ์ที่ทำอยู่แล้วจะยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ให้มีมาตรฐานอุตสาหกรรมรองรับ ตั้งแต่มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก. ) ระดับประเทศ ระดับสากลและต่อไป นายขจรศักดิ์ เจริญโสภา รองผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง กล่าวภายหลังลงพื้นที่ว่า นวัตกรรมการผลิตน้ำยางข้น ParaFIT จาก เอ็มเทค สวทช.

  1. Latex Pillows And Mattresses (หมอนและที่นอนยางพาราแท้)
  2. League of stickman โกง
  3. เปรียบเทียบ◘Memorine Jewelry แหวนเงินแท้ 925 ฝังเพชรสวิส (CZ) : ONLR88_SEP21 | Thai garnish
  4. Loft ใหม่! ชุดคีย์บอร์ดสุดคิ้วท์ สีชมพูฟรุ้งฟริ้ง ดีไซน์น่ารักฝุดๆ ไปเลยจ้าา | ปันโปร - Punpromotion
  5. หมอน ยางพารา แพรก หา ip
  6. ผลิตไม่ทันขาย! นวัตกรรม ParaFIT แปรรูป “หมอน-ที่นอนยางพารา” สร้างรายสหกรณ์บ้านแพรกหาฯ | สยามรัฐ | LINE TODAY
  7. พลิกวิกฤต! ชาวพัทลุง ผลิตหมอนยางพารา สู้ราคาที่ตกต่ำ

“พาราฟิต” จากน้ำยางพาราข้นในแล็บสู่โรงงานสหกรณ์

หมอน ยางพารา แพรก หา wifi
980-2552 และ ISO 2004-2017) กระทั่งได้สูตรน้ำยาง ParaFIT ซึ่งมีปริมาณแอมโมเนียต่ำกวา 0. 20% โดยน้ำหนักน้ำยาง (น้ำยางพาราขนทางการคามีปริมาณแอมโมเนีย 0. 3-0. 7% โดยน้ำหนักน้ำยาง) มีปริมาณ ซิงกออกไซด และเตตระเมทิลไทยูแรมไดซัลไฟด์ลดลง ช่วยให้ระยะเวลาการบมน้ำยางพาราขนลดลงกอนนำไปใช้เป็นวัตถุดิบในการทำผลิตภัณฑยาง ทำให้ไมตองมีขั้นตอนการกำจัดแอมโมเนียออกจากน้ำยางพาราขน กอนนำไปผลิตหมอนและที่นอนยางพารา จึงช่วยลดปริมาณของเสียในกระบวนการผลิต ลดกลิ่นฉุนของแอมโมเนียในโรงงาน และเปนมิตรตอคนและสิ่งแวดลอม @พร้อมคุณภาพมาตรฐาน บริการครบวงจร ผู้จัดการสหกรณ์การเกษตรบ้านแพรกหา จำกัด กล่าวว่า สหกรณ์การเกษตรบ้านแพรกหา จำกัด ได้พัฒนากระบวนการผลิตมาอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งเมื่อปลายปี 2560 ได้ดำเนินกิจกรรมแบบครบวงจร ตามที่ทีมวิจัยจากเอ็มเทค สวทช.

RIU - น้ำยาง ParaFIT เพิ่มมูลค่ายางพาราไทย

หมอน ยางพารา แพรก หา driver หมอน ยางพารา แพรก หา ip

ประวัติสหกรณ์

2562 ที่อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จัดโดย สวทช. พร้อมนำเสนอผลิตภัณฑ์ในราคาพิเศษ "ปิยะดา" กล่าวว่า ทีมวิจัยเอ็มเทค สวทช. มีแผนจะพัฒนางานวิจัยน้ำยาง อย่างต่อเนื่อง เพื่อร่วมส่งเสริมภาคเกษตรกรไทยผู้ผลิตยางพารา โดยเฉพาะการผลิตกลางน้ำ พร้อมกับร่วมผลักดันเกษตรกรไทย ภาคเอกชน ขยายสู่การแปรรูปผลิตภัณฑ์ใหม่จากยางพาราที่มีมูลค่าเพิ่มขึ้นและมีความแตกต่าง เห็นได้จากการสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่หมอนยางพารา สามารถสร้างราคาผลิตภัณฑ์ได้ตั้งแต่ 300-400 บาท จนถึงราคาระดับบน (พรีเมียม) 700 บาท เป็นต้น ยางพาราไทยถือว่ามีคุณภาพสูงระดับโลก ทำให้หลายแบรนด์เลือกใช้ยางพาราจากไทย อีกทั้งเอ็มเทคพร้อมร่วมถ่ายทอดงานวิจัยดังกล่าวไปให้แก่วิสาหกิจชุมชน สหกรณ์การเกษตร กลุ่มบุคคล และบุคคลทั่วไป ที่มีความสนใจต่อยอดสู่ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ในอนาคต

วันที่ 14 มี. ค. 2562 เวลา 11:40 น. เรื่อง วราภรณ์ เทียนเงิน นวัตกรรมน้ำยาง ParaFIT (พาราฟิต) จากนักวิจัยเอ็มเทค สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช. ) ทำให้ได้วัตถุดิบหลักในการแปรรูปสู่ผลิตภัณฑ์ทั้งผลิตหมอนและที่นอนยางพาราที่มีคุณภาพ โดยสามารถทดแทนการใช้น้ำยางพาราข้น ส่งผลดีต่อการบ่มน้ำยางก่อนนำไปใช้งานเหลือเพียง 3 วัน ส่วนยางพาราข้นต้องใช้เวลาบ่มนานถึง 21 วัน ถือเป็นนวัตกรรมที่ช่วยตอบโจทย์ผู้ผลิตสินค้าแปรรูปจากยางพาราและเป็นนวัตกรรมระดับประเทศ "ปิยะดา สุวรรณดิษฐากุล" ผู้ช่วยวิจัยอาวุโส ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช. เปิดเผยว่า กลุ่มทำยางเอ็มเทค สวทช. ได้มีการทำวิจัยยางและการรักษาสภาพน้ำยางมาเป็นระยะเวลาร่วม 20 ปีแล้ว และล่าสุดได้พัฒนานวัตกรรม "น้ำยาง ParaFIT (พาราฟิต)" น้ำยางพาราข้นชนิดใหม่สำหรับการผลิตหมอนและที่นอนยางพาราโดยเฉพาะ ถือเป็นนวัตกรรมที่ยังไม่เคยมีมาก่อนในไทย ที่ผ่านมาเกษตรกรไทยเมื่อมีการกรีดน้ำยางพาราสดสู่น้ำยางข้นจะต้องใช้ระยะเวลาในการบ่มนานร่วม 21 วันกว่าจะได้น้ำยางข้น แต่เมื่อมีงานวิจัยของเอ็มเทค สวทช.

  1. ภาษา กับ อาเซียน 10 ประเทศ
Tuesday, 02-Aug-22 19:44:07 UTC